วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2551

เครือข่าย ATM

เครือข่าย ATM
เครือข่าย ATM จะใช้โปรโตคอล ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นมาตาฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ATM ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้กับงานที่มีลักษณะข้อมูลหลายรูปแบบและต้องการความเร็วในการส่งช้อมูลสูงมาก สื่อที่ใช้ในเครือข่ายมิได้ตั้งแต่สายไฟเบอร์ออปติก สายโคแอกเชียล หรือสายไขว้คู่(Twisted pair) มีความเร็วในการส่งข้อมูลได้ตั้งแต่ 2 Mbps ไปจนถึง 622 Mbps ATM ถูกพัฒนามาจากเครือข่าย Packet-switching ซึ่งจะแบ่งข้อมูลที่จะส่งออกเป็นหน่วยย่อย ๆ เรียกว่า packet ที่มีขนาดเล็กและคงที่แล้วจึงส่งแต่ละ packet ออกไป แล้วนำมาประกอบรวมกันเป็นข้อมูลเดิมอีกครั้งที่ปลายทาง ข้อดีของ ATM คือสามารถใช้กับข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเร็วของข้อมูลสูง และสามารถรับประกันคุณภาพของการส่งได้ (มี Quality of Service)

ลักษณะการทำงานของ ATM
ATM เป็นมาตรฐานรูปแบบการส่งข้อมูลความเร็วสูงที่ถูกพัฒนามาสำหรับงานที่ต้องการความเร็วในการส่ง ข้อมูลสูงมาก ๆ ข้อมูลที่ส่งในเครือข่าย ATM จะถูกแบ่งเป็นกลุ่มย่อยเล็ก ๆ เรียกว่า "เซลล์(cell)" มีขนาด 53 ไบต์ ประกอบด้วยส่วนข้อมูล (payload) ขนาด 48 byte และส่วนหัว (Header) ขนาด 5 ไบต์ ส่วนหัวจะเก็บข้อมูลที่จำเป็นต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมการส่งเช่น จุดหมายปลายทางระดับความสำคัญของเซลล์นั้น โดยจะประกอบด้วย
VPI (Virtual Path Identifier) และ VCI (Virtual Circuit Identifier)ทำหน้าที่กำหนดวงจรเสมือน (virtual circuit)ในการเดินทางให้กับเซลนั้น
HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่ตรวจสอบเซลล์ ที่ไม่สอดคล้องตามที่ระบุในส่วนหัว สวิตซ์ ATM จะทำหน้าที่ ในการมัลติเพล็กซ์และจัดการส่งข้อมูลนั้นตามที่กำหนดไว้ในส่วนหัวไปสู่ปลายทาง เมื่อข้อมูลของผู้ใช้เข้ามา จะถูกตัวแบ่งย่อยเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 48 byte และ เติมส่วนหัวเข้าไปอีก 5 byte แล้วจึงส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย ATM ซึ่งระบุไว้โดยส่วนหัว เมื่อถึงปลายทางแล้วก็จะเอาส่วนหัวออก แล้วประกอบกันเป็นข้อมูลชิ้นใหญ่ เหมือนเดิม ลักษณะของ ATM นี้ จะคล้ายกับเครือข่าย packet-switching อื่น ๆ ที่มีอยู่ เช่น x.25 หรือ frame relay แต่ต่างกันที่ ATM จะมีขนาด pack เล็กและคงที่

โครงสร้างโพโตคอลของ ATM จะแบ่งการทำงานที่สลับซับซ้อนออกเป็น 4 ชั้น ได้แก่
1. Physical Layer (PHY) เป็นข้อกำหนดเกี่ยวกับตัวนำสัญญาณที่ใช้ในการส่งสัญญาณดิจิตอล ในการนำ ATM มาใช้ในเครือข่ายโทรคมนาคมนั้นจะนำมาใช้ร่วมกับ SONET ZSynchronous Optical Network) /SDH (Synchronous Digital Hierarchy) โดยมีเส้นใยแก้วนำแสดงเป็นตัวนำสัญญาณ
2. Asynchronous Transfer Mode Layer (ATM) หน้าที่สร้างส่วน header ของเซลล์ และประมวลผลส่วน header ของเซลล์ที่รับเข้ามา โดยอ่านค่า VCI/VPI ของเซลล์และหาเส้นทางที่จะส่งเซลล์ ออกไปแล้วจึงกำหนด VCI/VPI ใหม่ให้กับส่วน header ของเซลล์นั้น
3. ATM Adaptation Layer (AAL) ทำหน้าที่ปรับบริการที่ได้รับจากชั้น ATM ให้สอดคล้อง กับความต้องการของโพโตคอลและแปพลิเคชั่น ในชั้น higher layer โดยแบ่งเป็น 5 ชนิดด้วยกันเพื่อใช้กับ แอปพลิเคชันที่ต่างกันดังต่อไปนี้
- AAL1 เป็นวิธีการกำหนดให้มีการส่งและรับข้อมูลด้วยอัตราคงที่ (constant bit rate) โดยการจำลองวงจรการเชื่อมโยงระหว่างตัวรับตัวส่งข้อมูลที่ส่งมีลักษณะเป็น stream เพื่อใช้กับแอปพลิเคชันที่มีการส่งสัญญาณแบบจุดไปจุดอย่างต่อเนื่อง
- AAL2 เป็นวิธีการรับส่งข้อมูลแบบปรับค่าความเร็วของการรับส่งได้ตามทที่ต้องการ (variable bit rate) โดยเน้นการใช้อัตราความเร็วตามที่ต้องการ จึงนำมาใช้กับการรับส่งสัญญาณเสียงและภาพได้
- AAL3/4 เป็นวิธีการรับส่งข้อมูลแบบปรับค่าความเร็วของการรับส่งได้ตามที่ต้องการ (variable bit rate) เช่นเดียวกับ AAL2 แต่ต่างกันที่สามารถรับส่งข้อมูลแบบ asynchronous ได้ กล่าวคือ เวลาในการส่งและรับข้อมูลไม่จำเป็นต้องสัมพันธ์กัน
- AAL5 มีวิธีการรับส่งข้อมูลเช่นเดียวกับ AAL3/4 ข้อแตกต่างกันคือสามารถใช้กับการสื่อสาร ข้อมูลซึ่งมีการเชื่อมต่อแบบ connectionless ได้ และมีส่วน header ของ payload สั้นกว่า AAL3/4 โพรโตคอลในชั้น AAL นี้จะควบคุมการติดต่อสื่อสารจากต้นทางถึงปลายทาง และจะถูกประมวลผลโดยผู้ส่งและ ผู้รับข้อความ (Message) เท่านั้น ชั้น AAL แบ่งออกเป็นชั้นย่อย 2 ชั้น คือชั้น Convergence Sublayer (CS) ช่วยในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ (Interface) ที่ไม่ใช่ ATM เข้ากับ ATM และชั้น Segmentation and Reassembly Sublayer (SAR) ทำหน้าที่ตัดข้อความที่โพรโตคอลหรือแอปพลิเคชันต้องการส่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อนำไปสร้างเซลล์หรือนำส่วนข้อมูล (information) จาก payload ของเซลล์มาต่อกันเป็นข้อความ

ข้อดีของ ATM
1. ATM ถูกพัฒนาให้เป็นมาตรฐานกลางของการสื่อสารทั่วโลก อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถทำงานร่วมกันได้ถึงแม้จะต่างชนิดกัน โดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องเป็นยี่ห้อหนึ่งยี่ห้อใด กล่าวคือ เป็นมาตรฐานกลางที่ร่วมกัน กำหนดขึ้นเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ร่วมกัน
2. ATM ถูกพัฒนาเพื่อการส่งข้อมูลสำหรับทั้งเครือข่ายภายในระยะใกล้ (LAN:Local Area Network)และระยะไกล (Wide Area Network:WAN) แต่เดิมนั้มรูปแบบของการส่งข้อมูลในLANและ WAN จะแตกต่างกัน ซึ่งสร้างความยุ่งยากในการเชื่อมต่อและบริหารเครือข่าย แต่ ATM จะผนวกทั้ง LAN และ WAN เข้าเป็นเครือข่ายใหญ่ที่มีมาตรฐานเดียว
3. ATM ถูกพัฒนาให้ใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบ แต่เดิมนั้นข้อมูลแต่ละรูปแบบได้แก่ สัญญาณเสียง (voice) ข้อมูล (data) และภาพเคลื่อนไหว (video) ต่างก็มีเครือข่ายของตนเอง โดยสัญญาณเสียงที่ใช้ในเครือข่ายโทรศัพท์จะมีลักษณะ ที่มีอัตราการส่งข้อมูลคงที่เท่า ๆ กันตลอดเวลา ข้อมูลเสียงอาจยอมให้มีการสูญเสีย (error) ได้บ้าง แต่จะต้องให้มีการหน่วงเวลาน้อยที่สุด ส่วนข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะมีอัตราการส่งข้อมูลไม่คงที่มีลักษณะเป็น bursty คือ บางเวลาจะมีข้อมูลมากเป็นกลุ่มก้อน แต่บางเวลาก็ไม่มีข้อมูลเข้ามาเลย ลักษณะนี้เรายอมให้มีการหน่วงเวลาได้บ้าง แต่จะให้มีการสูญเสีย (error) ให้น้อยที่สุดจะเห็นว่าข้อมูลต่างลักษณะกันต้องการคุณภาพในการส่งที่ต่างประเด็นกัน สำหรับ ATM เราไม่จำเป็นต้องแยกเครือข่ายสำหรับข้อมูลเหล่านี้ เนื่องจากมันถูก ออกแบบมาเพื่อใช้กับข้อมูลทุกรูปแบบทั้งเสียง (voice) ข้อมูล และวิดีโอ นั่นเอง
4. ATM สามารถใช้ได้ที่ความเร็วสูงมาก ตั้งแต่ 1 Mbps (เมกะบิตต่อวินาที = 1 ล้านบิตต่อวินาที) ไปจนถึง Gbps (กิกะบิตต่อวินาที = 1 พันล้านบิตต่อวินาที)
5. ATM สามารถส่งข้อมูลโดยมีการรับประกันคุณภาพการส่ง (Quality of Service) ทำให้สามารถเลือกคุณภาพตามระดับที่เหมาะสมกับความสำคัญและรูปแบบของข้อมูล โดยเราสามารถเปรียบเทียบคุณสมบัตินี้กับการส่งจดหมายที่เราสามารถเลือกว่า จะส่งแบบธรรมดา,ด่วนพิเศษ (EMS) หรือ ลงทะเบียนป้องกันการสูญหาย เป็นต้น

ข้อสอบปรนัย เครือข่าย ATM
1.เครือข่าย ATM คืออะไร
ก.การสื่อสารแบบไร้สาย
ข.การสื่อสารแบบเเพ็กเก็จ
ค.การสื่อสารแบบบหลายสาย
ง.การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
2.ข้อดีของ ATM คืออะไร
ก.สะดวกและประหยัด
ข.สามารถใช้กับข้อมูลได้หลายรูปแบบ
ค.การเชื่อมต่อรวดเร็ว
ง.ทันสมัย
3.การส่งข้อมูลแบบเครือข่าย ATM ที่เรียกว่า "เซลล์" มีขนาดเท่าใด
ก.48 ไบต์
ข.52 ไบต์
ค.53 ไบต์
ง.63 ไบต์
4.โครงสร้างโปโตคอลของ ATM แบ่งออกเป็นกี่ชั้น
ก.1 ชั้น
ข.2 ชั้น
ค.3 ชั้น
ง.4 ชั้น
5.เครือข่าย ATM เป็นเครือข่ายที่ประยุกต์ใช้ได้หลายรูปแบบ ยกเว้น ข้อใด
ก.เครื่องมือสื่อสารทุกชนิด
ข.LAN
ค.WAN
ง.เส้นใยแสง

เฉลยข้อสอบ เครือข่าย ATM
1. ข.การสื่อสารแบบแพ็กเก็จ
2. ข.สามารถใช้กับข้อมูลได้หลายรูปแบบ
3. ค.53 ไบต์
4. ง.4 ชั้น
5. ก.เครื่องมือสื่อสารทุกชนิด

วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ส่ง URL เพื่อน

ส่ง URL‏เรวัต สุขดี
(55.raywat@windowslive.com)(http://55raywathotmail.blogspot.com/)

ขอส่ง URL ของ bloggel‏นางสาวอภิญญา อินทร์ทอง(ame_no@hotmail.com)http://dofo-dofo.blogspot.com/

ขอส่ง URL‏นางสาวนีนาวัจน์ บริษัท (neen@thaimail.com)Urarat@hotmail.comhttp://neenawat.blogspot.com/

ขอส่ง URL‏นางสาวจิตรา สุดคำภา (tear015@thaimail.com)http://jitrajitcom.blogspot.com/

ขอส่ง url จากนายเด่น ทองสง 5022252203‏นายเด่น ทองสง (thongsong01@thaimail.com)http://thongsong01.blogspot.com/

ขอส่ง URL จาก จำลอง คำภา ครับผม‏JUMLONG-KHAPA (jumlong.com@thaimail.com)http://jumlongcom.blogspot.com/

ขอส่งURLจากนางสาวสุติมา คำเคน‏นางสาวสุติมา คำเคน (oop-oop@thaimail.com)http://sutima-sutima.blogspot.com/

ส่ง url.BloG‏Kwanrudee pothibut (n_70lady@hotmail.com)นางสาวขวัญฤดี โพธิบุตร http://noyzaa.blogspot.com/

นฤมล รักศิลป์ (naumol.dot.com@thaimail.com)You may not know this sender.Mark as safeMark as unsafehttp://naumolblogspot.com/

ปุ๊ ระเบิดขวด (parinya_pu@thaimail.com)This message may be dangerous. Learn morehttp://pu12-pu123sa14com.blogspot.com/
นายปริญญา สา=ลีวัน 5022252204

ขอส่ง url‏ นาย วีระพงษ์ โกสีสุข (prerunner@thaimail.com)

เรียน MIS วันอาทิตย์ที่ 15 มิ.ย.51

TPS คืออะไร
ระบบสารสนเทศแบบประมวลรายการ(Transaction Processing Systems -TPS) เป็นระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบันทึกและประมวลข้อมูลที่เกิดจาก ธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์การ เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง เมื่อใดก็ตามที่มีการทำธุรกรรมหรือปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวข้อมูลที่เกี่ยวข้องจะเกิดขึ้นทันที เช่น ทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ข้อมูลที่เกิดขึ้นก็คือ ชื่อลูกค้า ประเภทของลูกค้า จำนวนและราคาของสินค้าที่ขายไป รวมทั้งวิธีการชำระเงินของลูกค้า

MIS คืออะไร
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information System) หรือ MIS คือระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง

DSS คืออะไร
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน

EIS คืออะไร
ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง (EIS) เป็นระบบข่าวสารที่มีความสำคัญต่อผู้บริหารองค์กร ในเรื่องการพิจารณากำหนดนโยบาย วางแผนกลยุทธขององค์กร ให้สามารถจัดการองค์กร ให้สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายหรือแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ES คืออะไร
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) คือ การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์มีความรู้ รู้จักใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้ความรู้ที่มี หรือจากประสบการณ์ในการแก้ปัญหาหนึ่ง ไปแก้ไขปัญหาอื่นอย่างมีเหตุผล ระบบนี้จำเป็นต้องอาศัยฐานข้อมูล (Database) ซึ่งมนุษย์ผู้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้กำหนดองค์ความรู้ไว้ในฐานข้อมูลดังกล่าว เพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ได้จากฐานความรู้นั้น เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์วิเคราะห์โรค หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ทำนายโชคชะตา

ข้อสอบอัตนัย
1. MIS คืออะไร
2. EIS คืออะไร
3. จงบอกความแตกต่างระหว่าง MIS กับ EIS
เฉลยข้อสอบอัตนัย
1.ระบบที่ให้สารสนเทศที่ผู้บริหารต้องการ (MIS) เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจะรวมทั้ง สารสนเทศภายในและภายนอก สารสนเทศที่เกี่ยวพันกับองค์กรทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวมทั้งสิ่งที่คาดว่าจะเป็นในอนาคต นอกจากนี้ระบบเอ็มไอเอสจะต้อง ให้สารสนเทศ ในช่วงเวลาที่เป็นประโยชน์ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในการวางแผนการควบคุม และการปฏิบัติการขององค์กรได้อย่างถูกต้อง
2. ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง (EIS) เป็นระบบข่าวสารที่มีความสำคัญต่อผู้บริหารองค์กร ในเรื่องการพิจารณากำหนดนโยบาย วางแผนกลยุทธขององค์กร ให้สามารถจัดการองค์กร ให้สามารถดำเนินการบรรลุเป้าหมายหรือแข่งขันกับองค์กรอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. MIS = เน้นการตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง (แนวทาง - ตรรก ที่แน่นอน) และใช้ข้อมูลภายในจากระบบ TPS เป็นหลัก จุดมุ่งหมายเพื่อบริหารจัดการ (Supervise) งานของหน่วยปฏิบัติการ ให้บรรลุเป้าหมาย ตามแผนงานที่กำหนดมาโดยผู้บริหารระดับกลาง ภายใต้งบประมาณ เวลาและข้อจำกัดอื่นๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น Production Control, Sales forecasts, financial analysis, และ human resource management เป็นต้น
4. EIS = เน้นการตัดสินใจแบบไร้โครงสร้าง (Unstructured decision making) จุดมุ่งหมายของระบบ EIS คือ ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นแนวทาง ความเป็นไปที่เป็นมา และกำลังจะมีแนวโน้มไปทางใด เพื่อให้สามารถกำหนดนโยบาย เป้าหมาย หลักๆ ขององค์กรให้สามารถธำรงองค์กรไว้ได้ แข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างดี ตัวอย่างเช่นระบบ วางแผนกลยุทธ์ Strategic planning เป็นต้น จะเป็นมาตรการสิ่งที่ได้จากการตัดสินใจของผู้บริหารชั้นสูงที่ใช้สั่งการไปสู่ผู้บริหารระดับกลาง เพื่อปรับแผนงานและกระทบถึงผู้บริหารระดับต้น เพื่อปฏิบัติตามแผนงาน ใหม่ต่อไป

ข้อสอบแบบกาถูกผิด
1. MIS คือ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
2.EIS คือ ระบบผู้เชี่ยวชาญ
3.DSS คือ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
4.TPS คือ ระบบประมวลผลรายการ
5. ES คือ ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง
เฉลยข้อสอบแบบกาถูกผิด
1. ถูก
2.ผิด ตอบ ระบบข่าวสารเพื่อการบริหารชั้นสูง
3. ถูก
4. ถูก
5. ผิด ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญ

วันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ข้อสอบ Wireless LAN

ข้อสอบ Wireless LAN
1. Wireless LAN หมายถึง
ก. ระบบเครือข่ายแบบสายเดียว
ข. ระบบเครือข่ายแบบสองสาย
ค. ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
ง. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ใครเป็นคนสร้างทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
ก. มาโคนี
ข. เจมส์ เคิร์ก แม็กซ์เวลล์
ค. เฮน ริค เฮิรตซ์
ง. จอร์น ดิวอี้
3. การเดินทางของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความเร็วเท่าใด
ก. 3 x 105 m/s
ข. 3 x 106 m/s
ค. 3 x 107 m/s
ง. 3 x 108 m/s
4. คลื่น UHF มีย่านความถี่เท่าใด
ก. 3 - 30 KHz
ข. 3 - 30 MHz
ค. 30 - 300 MHz
ง. 300 - 3000 MHz
5. ISM คืออะไร
ก. คลื่นความถี่สาธารณะสำหรับอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และการแพทย์
ข. คลื่นวิทยุ
ค. ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
ง. ย่านความถี่
6. Wireless LAN ถูกพัฒนาขึ้นปีใด
ก. ค.ศ.1979
ข. ค.ศ.1980
ค. ค.ศ.1981
ง. ค.ศ.1982
7. คลื่นอินฟาเรดที่ใช้ในเครือข่ายไร้สายใช้ย่านความถี่เท่าใด
ก. 800 - 900 นาโนเมตร
ข. 850 - 950 นาโนเมตร
ค. 800 - 800 นาโนเมตร
ง. 850 - 900 นาโนเมตร
8. ในปี ค.ศ. 1980 ใช้ย่านความถี่ใดในการส่งข้อมูล
ก. 600 MHz
ข. 700 MHz
ค. 800 MHz
ง. 900 MHz
9. ในปี ค.ศ.1971 มหาวิทยาลัยใดที่ได้รับมาตรฐานของคลื่น ISM Band
ก. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ข. มหาวิทยาลัยฮาวาย
ค. มหาวิทยาลัยโตเกียว
ง. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
10. ย่านความถี่ใดที่ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในการรับ - ส่งข้อมูล
ก. ย่านความถี่ 2.4 GHz
ข. ย่านความถี่ 2.5 GHz
ค. ย่านความถี่ 2.6 GHz
ง. ย่านความถี่ 2.7 GHz
11. ย่านความถี่ที่ 2.4 GHz ใช้สิ่งใดในการรับส่งข้อมูล
ก. คลื่นแม่เหล็ก
ข. คลื่นไมโครเวฟ
ค. คลื่นไฟฟ้า
ง. คลื่นวิทยุ
12. มาโคนี ใช้รหัสใดในการรับ - ส่งข้อมูล

ก. รหัสมอส
ข. รหัสแอสแซมบลี
ค. รหัสแอสกี
ง. รหัสโคบอล
13. PCI คืออะไร
ก. เป็นอุปกรณ์ชนิดหนึ่งของเครื่องคอมพิวเตอร์
ข. ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
ค. เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงของเครื่องคอมพิวเตอร์
ง. เป็นการ์ดที่ใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบซีพี
14. Antenna คืออะไร
ก. การแปลงสัญญาณไฟฟ้าเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ข. การแปลงสัญญาณวิทยุเป็นสัญญาณไมโครเวฟ
ค. การแปลงสัญญาณวิทยุไปเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ง. การแปลงสัญญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณโทรศัพท์
15. คุณสมบัติของคลื่นมีกี่ข้อ
ก. 2 ข้อ
ข. 3 ข้อ
ค. 4 ข้อ
ง. 5 ข้อ

ไวแม็กซ์ (WiMAX)

ไวแม็กซ์ (WiMAX)

คือการออกแบบโครงสร้างและอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายที่ได้ถูกพัฒนามาจาก Wireless LAN หรือ Wi-Fi ผลดีคือ ระยะทำการที่ครอบคลุมมากกว่าเครือข่ายแบบ Wireless LAN หลายเท่า แถมยังได้ความเร็วในการให้บริการสูงเทียบเท่ากัน จึงทำให้ สามารถเชื่อมต่อระหว่างตึกต่าง ๆ ได้ง่ายไม่มีข้อจำกัดในเรื่องของภูมิประเทศอีกต่อไป

ที่มาของไวแม็กซ์

WiMAX เป็นชื่อเรียกเทคโนโลยีไร้สายรุ่นใหม่ล่าสุดที่คาดหมายกันว่า จะถูกนำมาใช้งานในอนาคตอันใกล้นี้ โดย WiMAX เป็นชื่อย่อของ Worldwide Interoperability for Microwave Access ซึ่งเป็นเทคโนโลยีบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูงรุ่นใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซึ่งมาก็ได้พัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ขึ้น โดยได้การอนุมัติออกมาเมื่อเดือนมกราคม 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers)

มาตรฐานและความถี่ของระบบ WiMAX
๐ IEEE 802.16......เป็นมาตราฐานที่ให้ระยะทางการเชื่อมโยง 1.6 - 4.8 กิโลเมตร เป็นมาตราฐานเดียวที่สนับสนุน LoS (Line of Sight) โดยมีการใช้งานในช่วงความถึ่ที่สูงมากคือ 10-66 กิกะเฮิรตซ์ (GHz)
๐ IEEE 802.16a......เป็นมาตราฐานที่แก้ไขปรุงปรุงจาก IEEE 802.16 เดิม โดยใช้งานที่ความถี่ 2- 11 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งคุณสมบัติเด่นที่ได้รับการแก้ไขจากมาตราฐาน 802.16 เดิม คือคุณสมบัติการรองรับการทำงานแบบที่ไม่อยู่ในระดับสายตา (NLoS - Non - Line -of -Sight) ทั้งยังมีคุณสมบัติการทำงานเมื่อมีสิ่งกีดขวาง อาทิ เช่น ต้นไม้ ,อาคาร ฯลฯ นอกจากนี้ก็ยังช่วยให้สามารถขยายระบบเครือข่ายเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงได้อย่างกว้างขวางด้วยรัศมีทำการที่ไกลถึง 31 ไมล์ หรือประมาณ 48 กิโลเมตร และมีอัตราความเร็วในการรับส่งข้อมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ทำให้สามารถรองรับการเชื่อมต่อการใช้งานระบบเครือข่ายของบริษัทที่ใช้สายประเภท ที1 (T1-type) กว่า 60 รายและการเชื่อมต่อแบบ DSL ตามบ้านเรือนที่พักอาศัยอีกหลายร้อยครัวเรือนได้พร้อมกันโดยไม่เกิดปัญหาในการใช้งาน
๐ IEEE 802.16e......เป็นมาตราฐานที่ออกแบบมาให้สนับสนุนการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์พกพาประเภทต่างๆ เช่น PDA , Notebook เป็นต้น โดยให้รัศมีทำงานที่ 1.6 - 4.8 กิโลเมตร มีระบบที่ช่วยใฟ้ผู้ใช้งานยังสามรถสื่อสารได้โดยให้คุณภาพในการสื่อสารที่ดีและมีเสถียรภาพขณะใช้งานแม้ว่ามีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาก็ตาม......จากที่กล่าวมาจะเห็นว่าเมื่อมีการนำเทคโนโลยีไวแม็กซ์ (WiMAX) มาใช้กันอย่างกว้างขวาง เครือข่ายบนเทคโนโลยีไวแม็กซ์ (WiMAX) จะสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เน็ตด้วยความเร็วสูงไปยังสถานที่ต่างๆในรัศมีประมาณ 50 กิโลเมตร ครอบคลุมปริมณฑลทั้งหมดทำให้บริเวณดังกล่าวกลายเป็น WMAN (Wireless MAN) ไปอย่างอัตโนมัติบนเครือข่ายไร้สาย

ความเร็วของไวแม็กซ์
WiMAX นั้น ได้ให้อัตราความเร็วในการส่งสัญญาณข้อมูลมากถึง 75 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) โดยใช้กลไกการเปลี่ยนคลื่นสัญญาณที่ให้ประสิทธิภาพสูง สามารถส่งสัญญาณออกไปได้ในระยะทางไกลมากถึง 30 ไมล์ หรือ 48 กิโลเมตร ภายใต้คลื่นความถี่ระดับสูงที่มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง ทั้งก็ยังไม่มีปัญหาเรื่องของสัญญาณสะท้อนอีกด้วย นอกจากนั้นแล้ว สถานีฐาน(Base Station) ยังสามารถพิจารณาความเหมาะสมในระหว่างความเร็ว และระยะทางได้อีก ตัวอย่างเช่น ถ้าหากการใช้เทคนิคในแบบ 64 QAM (Quadarature Amplitude Modulation) ไม่สามารถรองรับการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพได้ การเปลี่ยนไปใช้ 16 QAM หรือ QPSK (Quadarature Phase Shift Key) ซึ่งจะช่วยเพิ่มระยะทางการในการสื่อสารให้มากขึ้นได้

วันเสาร์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ชื่อเรื่องงานวิจัย

งานวิจัย เรื่องที่ 1 ระบบสารสนเทศด้านกิจการนักศึกษา
งานวิจัย เรื่องที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการพัฒนาทะเบียนบุคลากร

ตอบคำถาม

งานวิจัย เรื่องระบบสารสนเทศภาวการณ์ผลิตพืชเศรษฐกิจจังหวัดนครสวรรค์
ตอบคำถาม
1. ทำไมจึงทำวิจัยเรื่องนี้มีปัญหาอะไร
ตอบ 1. ข้อมูลมีความซับซ้อน มีการบันทึกข้อมูลหลายครั้งทั้งในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด
2. ไม่มีการจัดการข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว เนื้อที่เสียหายและผลผลิตต่อไร่ของพืชเศรษฐกิจที่มีการปลูกระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด อย่างเป็นระบบ
3. ไม่มีการสรุปรายงานสถิติการปลูกพืชรายเดือน
4. ทำให้เสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลจากหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ
5. ในระดับหมู่บ้าน ตำบล และอำเภอ ไม่สามารถดูข้อมูลย้อนหลังและไม่สามารถประเมินสถานการณ์ภาวะการปลูกพืชล่วงหน้าได้

2. วัตถุประสงค์ในการทำวิจัย
ตอบ 1. สร้างระบบสารสนเทศภาวการณ์ผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ที่มีต่อระบบสารสนเทศภาวะการผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์


3. ประโยชน์ของการวิจัย
ตอบ 1. ได้ระบบสารสนเทศภาวการณ์ผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์
2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อที่การปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว เนื้อที่เสียหาย และผลผลิตต่อไร่ของพืชที่มีการปลูกระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด เป็นรายเดือน
3. เจ้าหน้าที่ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเนื้อที่การปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว เนื้อที่เสียหาย และผลผลิตต่อไร่ของพืชที่มีการปลูกระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด ได้ตามความต้องการด้วยความรวดเร็ว
4. ทำให้ลดความซ้ำซ้อนของรายงานข้อมูลที่ปฏิบัติแบบเดิม เป็นรายงานข้อมูลในรูปแบบเดียวกัน และใช้ข้อมูลร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
5. เป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงานราชการ และหน่วยงานเอกชนในการตั้งราคา ประเมินราคาการผลิตพืชเศรษฐกิจ และทำให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจในการตลาด
6. เป็นการส่งเสริมการประสานความร่วมมือ และให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างมหาวิทยาลัยนครสวรรค์ กับหน่วยงานในจังหวัด เพื่อเน้นการพัฒนาท้องถิ่น

4. นิยามศัพท์
ตอบ ระบบ หมายถึง ระบบสารสนเทศภาวการณ์ผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์
ระบบสารสนเทศ หมายถึง ระบบที่นำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาจัดการเก็บข้อมูลในองค์กรให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถของการทำงานของระบบสารสนเทศ
เจ้าหน้าที่ หมายถึง เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอของสำนักงานเกษตรอำเภอ และสำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์ กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Open source หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่เปิดเผยรหัสคำสั่งต้นฉบับ ให้สาธารณชนนำไปใช้งานได้โดยไม่คิดมูลค่าหรือแก้ไขโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ

5. ทฤษฎีที่ใช้
ตอบ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจ
2. ทฤษฎีของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ


6. กลุ่มตัวอย่าง
ตอบ 1. ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเกษตรอำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 13 อำเภอ และ 2 กิ่งอำเภอ
2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของสำนักงานเกษตรอำเภอในจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างและแบบเจาะจง


7. เครื่องมือที่ใช้
ตอบ 1. ด้านฮาร์ดแวร์
2. ด้านซอฟต์แวร์
3. แบบสอบถาม

8. สถิติที่ใช้
ตอบ 1. ค่าเฉลี่ย (x)
2. ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

9. ผลงานการวิจัย
ตอบ สรุปได้ 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลของระบบสารสนเทศภาวการณ์ผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์
ตอนที่ 2 ศึกษาความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ที่มีต่อระบบ

งานวิจัย

สืบค้นต่อในกลุ่ม Creatorสืบค้นต่อในกลุ่ม Creator ทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูลสืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ




var linkset=new Array()
var linkset1=new Array()
var linkset2=new Array()
var linkset3=new Array()
var linkset4=new Array()
function f_accept(f)
{
// var a=f.accept.value
// if (f.accept.value.length<>0)
// {
// alert("จะต้องยอมรับเงื่อนไขก่อน ");
// } else
{
f.submit();
}
}


lement
Data
Title
การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร
Title Alternative
Management Information System for Administration in School under the Jurisdiction of the office of Kamphaengphet Provincial Primary Education.
linkset[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Creator'
linkset[1]+='สืบค้นต่อในกลุ่ม Creator ทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน '
linkset[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '

Creator
Name: สุทัศน์ กำยาน

Address: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
Subject
keyword:
linkset1[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[1]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[1]+='แปลความหมาย '

สารสนเทศ - การจัดระบบ

LCSH:
linkset2[7]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset2[7]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset2[7]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset2[7]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset2[7]+='แปลความหมาย '

โรงเรียนประถมศึกษา - ระบบสารสนเทศ

Classification :.DDC: 372.12
Description
Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 5 ขั้นตอน ได้แก่ ด้านการจัดเก็บข้อมูล ด้านการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล ด้านการประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล ด้านการจัดเก็บสารสนเทศ และด้านการนำไปใช้ตัดสินใจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน 189 คน และเจ้าหน้าที่สารสนเทศในโรงเรียน 187 คน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 376 คน ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ค่าร้อยละ ใช้ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สภาพการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในโรงเรียนประถมศึกษา การจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานก ประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร ส่วนใหญ่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร ส่วนใหญ่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบ วางแผน และความต้องการจัดเก็บข้อมูล เพื่อใช้ในการบริหารงาน ตามภารกิจหลัก 6 งานพร้อมทั้งนำไปใช้แก้ปัญหา อุปสรรค และความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานจำแนกเป็นหมวดหมู่ แต่ยังไม่มีการนำข้อมูลไปใช้แก้ปัญหา อุปสรรค และความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานในโรงเรียน ไม่มีการจัดระบบการประมวลผล และการวิเคราะห์ข้อมูลเสนอผู้บริหารโรงเรียน และยังขาดแคลนอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในการปฏิบัติงาน มีการจัดเก็บสารสนเทศให้ผู้บริหารเลือกใช้บริหารงานในโรงเรียน โดยใช้เอกสารแฟ้มข้อมูล ตาราง กราฟ และมีห้องจัดเก็บสารสนเทศเสนอผู้บริหารโรงเรียน โดยมอบหมายงานเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อนำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ตามภารกิจหลักทั้ง 6 งาน และงานบริหารด้านควบคุม กำกับ ติดตามการประเมินผลการปฏิบัติงานในโรงเรียน 2. ปัญหาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัด สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สารสนเทศส่วนใหญ่ มีปัญหาตรงกันในด้านการจัดเก็บข้อมูลไว้ในรูปสื่ออีเล็กทรอนิกส์ โสตทัศวัสดุ และสร้างเครื่องมือจัดเก็บข้อมูล ไม่ครอบคลุมการบริหารงานตามภารกิจหลักทั้ง 6 งานของโรงเรียน การไม่ได้ตรวจสอบและรวบรวม ข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ขาดแคลนเครื่องมือ เครื่องใช้ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไม่มีความรู้ความสามารถ ไม่ได้ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาปัญหาและความต้องการในโรงเรียนด้านการจัดเก็บสารสนเทศ ขาดแคลนงบประมาณสนับสนุน ไม่มีการจัดเก็บไว้ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และโสตทัศวัสดุ มีปัญหาเกี่ยวกับขาดการนำไปใช้ตัดสินใจบริหารงาในโรงเรียนตามภารกิจหลักทั้ง 6 งาน และในด้านการติดตามผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน 3. ความต้องการจัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สารสนเทศมีความต้องการมากเกี่ยวกับให้มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบจัดเก็บข้อมูลในโรงเรียนโดยตรง ทั้งนี้ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ ในการจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันการตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันให้ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการในโรงเรียนให้มีการจัดเก็บสารสนเทศเป็นระบบ และเป็นหมวดหมู่ ให้ครอบคลุมการบริหารงานเอื้อต่อการนำไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนนำไปใช้ในการบริหารงานตามภารกิจงานหลักของโรงเรียนทั้ง 6 งาน พร้อมทั้งนำไปใช้ในการวางแผน กำหนดนโยบาย และติดตามผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียน
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
linkset3[11]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[11]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[11]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '

Contributor
Name: สมชัย วงษ์นายะ

Role: ประธานกรรมการ
linkset3[13]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[13]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[13]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '


Name: ศรีรัตน์ เจิงกลิ่นจันทร์

Role: กรรมการ
linkset3[15]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[15]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[15]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '


Name: พนัส หันนาคินทร์

Role: กรรมการ
linkset3[17]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[17]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[17]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '


Name: มะลิวัลย์ ตันติสันติสม

Role: กรรมการ
Date
Created: 2543

Issued: 2548-07-29

Created: 2548-07-29
Type
วิทยานิพนธ์/Thesis
Format
application/pdf

ISBN: 974 559 338 9
Source
CallNumber: 372.12 ส778ก
Language
tha
linkset4[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[1]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[1]+='แปลความหมาย '

Thesis
DegreeName: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
linkset4[2]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[2]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[2]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[2]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[2]+='แปลความหมาย '


Level: ปริญญาโท
linkset4[3]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[3]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[3]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[3]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[3]+='แปลความหมาย '


Descipline: การบริหารการศึกษา
linkset4[4]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[4]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[4]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[4]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[4]+='แปลความหมาย '


Grantor: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

RightsAccess:สามารถเข้าใช้ได้เฉพาะสมาชิกในกลุ่ม ThaiLIS



ส่วนบนของฟอร์ม
ลำดับที่.
ชื่อแฟ้มข้อมูล
ขนาดแฟ้มข้อมูล
จำนวนเข้าถึง
วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1
tgp_32_1.pdf
86.84 KB
28
2007-10-25 15:21:23
2
bib_32_9.pdf
189.03 KB
20
2007-10-03 15:18:54
3
ch5_32_8.pdf
1.26 MB
12
2007-08-11 16:20:39
4
ch4_32_7.pdf
1.41 MB
13
2007-08-11 16:19:19
5
ch3_32_6.pdf
253.25 KB
18
2007-08-23 11:49:26
6
ch2_32_5.pdf
2.11 MB
17
2007-08-11 16:17:22
7
ch1_32_4.pdf
346.47 KB
20
2007-08-28 13:51:48
8
con1_32_3.pdf
139.36 KB
14
2007-08-23 11:43:46
9
abs_32_2.pdf
219.76 KB
18
2007-09-24 23:42:53
10
app_32_10.pdf
1.13 MB
14
2008-01-08 19:58:28
ส่วนล่างของฟอร์ม

ใช้เวลา 0.144119 วินาที
Copyright 2000 - 2008 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
วันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.232 จำนวน 2532 ครั้งวันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.227 จำนวน 3457 ครั้งวันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.233 จำนวน 25361 ครั้งขณะนี้มีผู้ใช้กำลังเปิดดูเว็ปนี้ ผ่าน Server 202.28.18.233 จำนวน 41 คน
นอก ThaiLIS = 8064 ครั้งมหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 11273 ครั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ = 7551 ครั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 333 ครั้งมหาวิทยาลัยสงฆ์ = 8 ครั้งมหาวิทยาลัยเอกชน = 3291 ครั้งหน่วยงานอื่น = 229 ครั้ง
Database server : 192.168.1.7 Resource id #47 Log server : 192.168.1.4 Resource id #4Main server : Version 2.3c Last update 06-05-08Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo

งานวิจัย

Title
การประเมินผลการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา
Title Alternative
An Evaluation of the Implementation of the Administration Information System Program in Schools of General Education Department in Nakhon Ratchasima Province
linkset[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Creator'
linkset[1]+='สืบค้นต่อในกลุ่ม Creator ทุกมหาวิทยาลัย/สถาบัน '
linkset[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '

Creator
Name: สรรเสริญ สาริบุตร
Subject
keyword:
linkset1[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[1]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[1]+='แปลความหมาย '

โรงเรียน- -การบริหาร- -วิจัย

ThaSH:
linkset2[6]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset2[6]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset2[6]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset2[6]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset2[6]+='แปลความหมาย '

การศึกษา

Classification :.DDC: 373.12

;
linkset1[2]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[2]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[2]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[2]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[2]+='แปลความหมาย '

โรงเรียนมัธยมศึกษา- -วิจัย

;
linkset1[3]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[3]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[3]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[3]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[3]+='แปลความหมาย '

สารสนเทศ- -วิจัย

;
linkset1[4]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[4]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[4]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[4]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[4]+='แปลความหมาย '

สารสนเทศ- -การบริหาร- -วิจัย

;
linkset1[5]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Subject'
linkset1[5]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset1[5]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset1[5]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset1[5]+='แปลความหมาย '

โปรแกรมระบบสารสนเทศ
Description
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบ สารสนเทศเพื่อการบริหาร ด้านรายงานข้อมูลและการนำไปใช้ประโยชน์จากฝ่ายบริหารโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา และด้านการติดตั้งโปรแกรม การจัดการฐานข้อมูล การปฏิบัติการรายงานและความสะดวกในการจัดการข้อมูลในด้านอื่น ๆ จากผู้รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศระดับโรงเรียนและระดับวิทยาเขตและเพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญการใช้และพัฒนาโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีจำนวนทั้งสิ้น 177 คน ประกอบด้วยฝ่ายบริหารโรงเรียนและผู้รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีการศึกษา 2543 จาก 50 โรง โรงเรียนละ 3 คน จำนวน 150 คน ผู้รับผิดชอบงานข้อมูลสารสนเทศสหวิทยาเขต ๆ ละ 1 คน จำนวน 18 คนและผู้เชี่ยวชาญการใช้และพัฒนาโปรแกรมจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ จำนวน 9 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการโดยใช้แบบสอบถาม จำนวน 3 ฉบับ ที่ผู้วิจัยเป็นผู้สร้างขึ้นซึ่งมีลักษณะเป็น เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และการวิเคราะห์ ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS/PC+ for Windows โดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ด้านความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 1.1 ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ของฝ่ายบริหาร พบว่า 1.1.1 ผู้บริหารโรงเรียนมีความพึงพอใจในรายงานข้อมูลในระดับมาก และเห็นว่าสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงทางการบริหาร อยู่ในระดับปานกลาง 1.1.2 ผู้ช่วยผู้บริหารหรือหัวหน้าฝ่ายที่รับผิดชอบงานสารสนเทศโรงเรียน มีความพึงพอใจในรายงานข้อมูลอยู่ในระดับมาก และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงทางการบริหารอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกับผู้บริหารโรงเรียน 1.2 ความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร ของผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศระดับสหวิทยาเขตและโรงเรียน พบว่า 1.2.1 ผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศระดับสหวิทยาเขต มีความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมอยู่ในระดับมาก 1.2.2 ผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศระดับโรงเรียน มีความพึงพอใจในการใช้โปรแกรมอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน 2. ประสิทธิภาพการทำงานของโปรแกรมระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารตาม ความคิดของผู้เชี่ยวชาญการใช้และพัฒนาโปรแกรม อยู่ในระดับมาก The purposes of this study were to evaluate the satisfaction in the Administration Information System (AIS) program of the four groups: the school administrators, the school deputy administrators, the school teachers in charge of the school information system, and the school cluster information system in Nakhon Ratchasima. Secondly the study aimed to evaluate the efficiency of the AIS program implementation as viewed by the educational program development experts. 150 samples were purposively selected from 50 secondary schools in Nakhon Ratchasima. They were 50 school administrators, 50 school deputy administrators and 50 school teachers in charge of the school information system. Another 18 samples were also purposively selected from each of the 18 secondary school clusters in Nakhon Ratchasima. The last group was the 9 experts who were involved in educational program development. Three sets of 5 – level rating scale questionnaires constructed by the researcher were used to collect data. The SPSS/PC+ for Windows was applied to analyze frequencies, percentages, means and standard deviations.
Publisher
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Address: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Email: si_num42@hotmail.com
linkset3[16]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[16]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[16]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '

Contributor
Name: สมทรง อัศวกุล

Role: ประธานกรรมการ
linkset3[18]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[18]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[18]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '


Name: คมกฤช ตรีสินธุรส

Role: กรรมการ
linkset3[20]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Contributor'
linkset3[20]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset3[20]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '


Name: ธนวัฒน์ ธิติธนานันท์

Role: กรรมการ
Date
Created: 2545

Issued: 2548-08-07
Type
Text.Thesis.Masters
Format
application/pdf

ISBN: 9743160744
Source
CallNumber: 373.12
Language
tha
linkset4[1]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[1]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[1]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[1]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[1]+='แปลความหมาย '

Thesis
DegreeName: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
linkset4[2]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[2]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[2]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[2]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[2]+='แปลความหมาย '


Level: ปริญญาโท
linkset4[3]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[3]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[3]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[3]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[3]+='แปลความหมาย '


Descipline: การบริหารการศึกษา
linkset4[4]='สืบค้นต่อในกลุ่ม Thesis'
linkset4[4]+='สืบค้นต่อในทุกเขตข้อมูล'
linkset4[4]+='สืบค้นจากฐานข้อมูลอื่นของโครงการ '
linkset4[4]+='สืบค้นจากสารานุกรม '
linkset4[4]+='แปลความหมาย '


Grantor: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

RightsAccess:สามารถเข้าใช้ได้เฉพาะสมาชิกในกลุ่ม ThaiLIS



ส่วนบนของฟอร์ม
ลำดับที่.
ชื่อแฟ้มข้อมูล
ขนาดแฟ้มข้อมูล
จำนวนเข้าถึง
วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1
thesissansern_sa.pdf
2.17 MB
93
2008-06-07 09:52:34
ส่วนล่างของฟอร์ม

ใช้เวลา 0.131823 วินาที
Copyright 2000 - 2008 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
วันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.232 จำนวน 2532 ครั้งวันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.227 จำนวน 3445 ครั้งวันนี้มีการเข้าค้นข้อมูล ผ่าน Server 202.28.18.233 จำนวน 25197 ครั้งขณะนี้มีผู้ใช้กำลังเปิดดูเว็ปนี้ ผ่าน Server 202.28.18.233 จำนวน 44 คน
นอก ThaiLIS = 7988 ครั้งมหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 11225 ครั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ = 7551 ครั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 332 ครั้งมหาวิทยาลัยสงฆ์ = 8 ครั้งมหาวิทยาลัยเอกชน = 3240 ครั้งหน่วยงานอื่น = 229 ครั้ง
Database server : 192.168.1.7 Resource id #49 Log server : 192.168.1.4 Resource id #4Main server : Version 2.3c Last update 06-05-08Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo

วันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551

รายงานตัว

ชื่อ นางสาวพัฑฒิดา ผาคำ
ชื่อเล่น หมิง
ที่อยู่ อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ
เบอร์โทรศัพท์ 089-0944412